ว่านมหาเมฆ พบสารต้าน ต้านผมร่วง
ว่านมหาเมฆ เป็นพืชสมุนไพรไทย ที่ทีมนักวิจัย ม.นเรศวรได้ค้นพบสารออกฤทธิ์สำคัญในการต้านผมร่วงจากกรรมพันธุ์ และต้านฮอร์โมนเพศอันเป็นสาเหตุของผมร่วง ซึ่งมีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญในว่านมหาเมฆคือสารกลุ่มน้ำมันหอมระเหย Germacrone, curzerenone และ 1,8-cineole
#มลภาวะ #ดูแลผมหน้าฝน #ฝนตก
ลักษณะของว่านมหาเมฆ
- ต้นว่านมหาเมฆ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีความสูงได้ประมาณ 80-150 เซนติเมตร มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลักษณะของเหง้าเป็นสีเหลืองอมเขียวอ่อน หรือเป็นสีม่วงอมน้ำเงิน จึงมีคนเรียกว่า “ขิงดำ” หรือ “ขิงสีน้ำเงิน” ความยาวของเหง้ามีขนาดประมาณ 12 เซนติเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร หัวหรือเหง้าเมื่อเก็บไว้นานหลายปีจะเปลี่ยนจากสีม่วงเป็นสีเหลือง พรรณไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการแยกหน่อ เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ระบายน้ำดี มักขึ้นตามดินทราย ทุ่งหญ้า ป่าเบญจพรรณ และในป่าราบทั่วไปทั่วทุกภาคของประเทศ
#มลภาวะ #ดูแลผมหน้าฝน #ฝนตก
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของว่านมหาเมฆ
- ในเหง้าพบน้ำมันซึ่งมีสารที่ประกอบไปด้วย Curcumenol, Curdione, Curzerenone, Germacene, Isofrtungermacrene, Zedoarone และยังพบแป้ง เป็นต้น (สารที่พบจากเหง้าของว่านมหาเมฆ คล้ายกับสารที่พบในเหง้าของขมิ้นอ้อย แต่จะไม่พบสาร Cucurmin ซึ่งเป็นสารที่ให้สีเหลืองของขมิ้นอ้อย)
- น้ำมันจากเหง้าว่านมหาเมฆมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Bacillus inuza, Staphylococcus, เชื้ออหิวาต์ และเชื้อในลำไส้ใหญ่ได้หลายชนิด
- สาร Curdione จากเหง้าว่านมหาเมฆมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli, Salmonella typhi, Klebsiella. Pneumoniae และ Stophylococcus aureus
- เมื่อนำสารที่สกัดได้จากเหง้ามาฉีดเข้าช่องท้องของหนูทดลองที่เป็นโรคมะเร็งในตับ หรือเป็นเนื้อร้าย 180 พบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้ แต่ถ้านำสารสกัดมาให้หนูทดลองดังกล่าวกิน พบว่าจะไม่มีผลในการรักษา
- เมื่อนำน้ำมันจากเหง้ามาให้คนหรือสัตว์กิน พบว่าจะมีฤทธิ์กระตุ้นกระเพาะและลำไส้ให้มีการขยับและบิดเคลื่อนไหวตัว ทำให้สามารถขับลมในกระเพาะและลำไส้ได้ อีกทั้งยังช่วยแก้อาการปวดกระเพาะและลำไส้ได้อีกด้วย
- สารสกัดชั้นน้ำยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV-1 และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ HIV-1 protease (IC50 : 500 mcg/ml) (Otake et al.,1995)
ลักษณะของว่านมหาเมฆ
- ต้นว่านมหาเมฆ จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุก มีความสูงได้ประมาณ 80-150 เซนติเมตร มีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลักษณะของเหง้าเป็นสีเหลืองอมเขียวอ่อน หรือเป็นสีม่วงอมน้ำเงิน จึงมีคนเรียกว่า “ขิงดำ” หรือ “ขิงสีน้ำเงิน” ความยาวของเหง้ามีขนาดประมาณ 12 เซนติเมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร หัวหรือเหง้าเมื่อเก็บไว้นานหลายปีจะเปลี่ยนจากสีม่วงเป็นสีเหลือง พรรณไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการแยกหน่อ เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ระบายน้ำดี มักขึ้นตามดินทราย ทุ่งหญ้า ป่าเบญจพรรณ และในป่าราบทั่วไปทั่วทุกภาคของประเทศ
#มลภาวะ #ดูแลผมหน้าฝน #ฝนตก
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของว่านมหาเมฆ
- ในเหง้าพบน้ำมันซึ่งมีสารที่ประกอบไปด้วย Curcumenol, Curdione, Curzerenone, Germacene, Isofrtungermacrene, Zedoarone และยังพบแป้ง เป็นต้น (สารที่พบจากเหง้าของว่านมหาเมฆ คล้ายกับสารที่พบในเหง้าของขมิ้นอ้อย แต่จะไม่พบสาร Cucurmin ซึ่งเป็นสารที่ให้สีเหลืองของขมิ้นอ้อย)
- น้ำมันจากเหง้าว่านมหาเมฆมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Bacillus inuza, Staphylococcus, เชื้ออหิวาต์ และเชื้อในลำไส้ใหญ่ได้หลายชนิด
- สาร Curdione จากเหง้าว่านมหาเมฆมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli, Salmonella typhi, Klebsiella. Pneumoniae และ Stophylococcus aureus
- เมื่อนำสารที่สกัดได้จากเหง้ามาฉีดเข้าช่องท้องของหนูทดลองที่เป็นโรคมะเร็งในตับ หรือเป็นเนื้อร้าย 180 พบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้ แต่ถ้านำสารสกัดมาให้หนูทดลองดังกล่าวกิน พบว่าจะไม่มีผลในการรักษา
- เมื่อนำน้ำมันจากเหง้ามาให้คนหรือสัตว์กิน พบว่าจะมีฤทธิ์กระตุ้นกระเพาะและลำไส้ให้มีการขยับและบิดเคลื่อนไหวตัว ทำให้สามารถขับลมในกระเพาะและลำไส้ได้ อีกทั้งยังช่วยแก้อาการปวดกระเพาะและลำไส้ได้อีกด้วย
- สารสกัดชั้นน้ำยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV-1 และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ HIV-1 protease (IC50 : 500 mcg/ml) (Otake et al.,1995)
ยังพบฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย !! การทำความสะอาดเส้นผม จำเป็นจะต้องทำความสะอาดบริเวณหนังศีรษะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อของแบคทีเรีย
ยังพบฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย !! การทำความสะอาดเส้นผม จำเป็นจะต้องทำความสะอาดบริเวณหนังศีรษะ เพื่อป้องกันการติดเชื้อของแบคทีเรีย
กลไกการออกฤทธิ์ของสาร Germacrone
การดูแลสุขอนามัยหนังศีรษะ
- การมีรังแค
- การแคะแกะเกาผม เป็นประจำ ทำให้เกิดแผลหรือรอยเปิดของผิวหนังได้
- หากเป็นรุนแรงก็อาจจะพัฒนาไปเป็น โรคปมรากผมอักเสบ (folliculitis decalvans) ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อและอักเสบเรื้อรัง
ซึ่งหลายคนอาจนึกไม่ถึงว่า ผมร่วงบางครั้งก็มาจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัสได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นการดูแลความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะให้ถูกสุขอนามัยจะเป็นการป้องกันผมร่วงจากเชื้อโรคดังกล่าวได้
กลไกการออกฤทธิ์ของสาร Germacrone
- การมีรังแค
- การแคะแกะเกาผม เป็นประจำ ทำให้เกิดแผลหรือรอยเปิดของผิวหนังได้
- หากเป็นรุนแรงก็อาจจะพัฒนาไปเป็น โรคปมรากผมอักเสบ (folliculitis decalvans) ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อและอักเสบเรื้อรัง
ซึ่งหลายคนอาจนึกไม่ถึงว่า ผมร่วงบางครั้งก็มาจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัสได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นการดูแลความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะให้ถูกสุขอนามัยจะเป็นการป้องกันผมร่วงจากเชื้อโรคดังกล่าวได้
วิธีเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับเส้นผม
ว่านมหาเมฆ ที่ผ่านการสกัดโดยทีมนักวิจัย ให้ได้สารออกฤทธิ์ธรรมชาติ ซึ่งนอกจากมีฤทธิ์ในการ ต้านผมร่วง ยังมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และลดการอักเสบอีกด้วย จึงมีความปลอดภัยในระยะยาวเนื่องจากปราศจากสารเคมีที่รุนแรงและตกค้างบนหนังศีรษะ
วิธีเลือกผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับเส้นผม
เอกสารอ้างอิง
- หนังสือสารานุกรมสมุนไพรไทย-จีน ที่ใช้บ่อยในประเทศไทย. (วิทยา บุญวรพัฒน์). “ว่านมหาเมฆ”. หน้า 514.
- หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5. (ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม). “ว่านมหาเมฆ”. หน้า 727-728.
- ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. “ว่านมหาเมฆ”. อ้างอิงใน : หนังสือพืชสกุลขมิ้นในประเทศไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.qsbg.org. [23 ต.ค. 2014]
- โครงการเผยแพร่ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นที่สูง, สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง (องค์กรมหาชน). “ว่านมหาเมฆ”. อ้างอิงใน : หนังสือพืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง (อัปสร และคณะ). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : eherb.hrdi.or.th. [23 ต.ค. 2014]
- ๑๐๘ พรรณไม้ไทย. “ว่านมหาเมฆ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.panmai.com. [23 ต.ค. 2014].
- สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. “ว่านมหาเมฆ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : aidsstithai.org/herbs/. [23 ต.ค. 2014].
- ว่านและสมุนไพรไทย, คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร. “ขมิ้นดำ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : natres.skc.rmuti.ac.th/WAN/. [23 ต.ค. 2014].
- หน่วยบริการฐานข้อมูลสมุนไพร สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. “สารสำคัญในต้นว่านมหาเมฆ”. เข้าถึงได้จาก : www.medplant.mahidol.ac.th. [23 ต.ค. 2014].
Leave A Comment